การใช้ DSS ในสายการบินอเมริกันแอร์ไลน์
(DSS at American Airline)
วันพุธที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
ตัวอย่างการใช้งาน DSS
วันพุธที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
ใบงานที่ 1
1.ยกตัวอย่างกระบวนการทำงานของระบบสารสนเทศที่นักเรียนเคยปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
การบริการและการทำธุรกรรมบนอินเทอร์เน็ต
บริษัทและหน่วยงานทางธุรกิจจำนวนมากใช้ระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การส่งใบสั่งซื้อสินค้าในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ การตรวจสอบรายการสินค้าตามห้างร้านค้าปลีกแบบออนไลน์ การโต้ตอบธุรกรรมต่างๆ ทำให้ลดการใช้กระดาษและทำให้การดำเนินการเป็นไปด้วยความรวดเร็ว ลดค่าใช้จ่ายโดยรวม เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินการ
2. ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเภทของระบบสารสนเทศ แล้วสรุปข้อมูลตามหัวข้อต่อไปนี้
-ชื่อ
-ลักษณะ
-การใช้ระบบสารสนเทศแต่ละประเภท
-แหล่งค้นข้อมูล (เว็บไซต์อ้างอิง)
ลักษณะ 1)การประมวลผลข้อมูลจำนวนมาก
2)แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจากภายในและผลที่ได้เพื่อตอบสนองต่อผู้ใช้ภายในองค์การเป็นหลัก อย่างไรก็ตามในปัจจุบันหุ้นส่วนทางการค้าอาจจะมีส่วนในการป้อนข้อมูลและอนุญาตให้หน่วยงานที่เป็นหุ้นส่วนใช้ผลที่ได้จาก TPS โดยตรง
1)การจัดกลุ่มของข้อมูล (Classification) คือ การจัดกลุ่มข้อมูลลักษณะเหมือนกันไว้ด้วยกัน
2) การคิดคำนวณ (Calculation) การคิดคำนวณโดยใช้วิธีการคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ เช่น การคำนวณภาษีขายทั้งหมดที่ต้องจ่ายในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา
3) การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting) การจัดเรียงข้อมูลเพื่อทำให้การประมวลผลง่ายขึ้น เช่น การจัดเรียง invoices ตามรหัสไปรษณีย์เพื่อให้การจัดส่งเร็วยิ่งขึ้น
4) การสรุปข้อมูล (Summarizing) เป็นการลดขนาดของข้อมูลให้เล็กหรือกะทัดรัดขึ้น เช่น การคำนวณเกรดเฉลี่ยของนักศึกษาแต่ละคน 5) การเก็บ (Storage) การบันทึกเหตุการณ์ที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน อาจจำเป็นต้องเก็บรักษาข้อมูลไว้ โดยเฉพาะข้อมูลบางประเภทที่จำเป็นต้องเก็บรักษาไว้ตามกฎหมาย ที่จริงแล้ว TPS เกี่ยวข้องกับงานทุกระดับในองค์การ แต่งานส่วนใหญ่ของ TPS จะเกิดขึ้นในระดับปฏิบัติการมากกว่า แม้ว่า TPS จะจำเป็นในการปฏิบัติงานในองค์การแต่ระบบ TPSก็ไม่เพียงพอในการสนับสนุนในการตัดสินใจของผู้บริหาร ดังนั้นองค์การจึงจำเป็นต้องมีระบบอื่นสำหรับช่วยผู้บริหารด้วย ดังจะกล่าวต่อไป
2) การคิดคำนวณ (Calculation) การคิดคำนวณโดยใช้วิธีการคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ เช่น การคำนวณภาษีขายทั้งหมดที่ต้องจ่ายในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา
3) การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting) การจัดเรียงข้อมูลเพื่อทำให้การประมวลผลง่ายขึ้น เช่น การจัดเรียง invoices ตามรหัสไปรษณีย์เพื่อให้การจัดส่งเร็วยิ่งขึ้น
4) การสรุปข้อมูล (Summarizing) เป็นการลดขนาดของข้อมูลให้เล็กหรือกะทัดรัดขึ้น เช่น การคำนวณเกรดเฉลี่ยของนักศึกษาแต่ละคน
1)ช่วยในการจัดทำรายงานซึ่งมีรูปแบบที่กำหนดไว้เป็นมาตรฐานตายตัว
2) ใช้ข้อมูลภายในที่เก็บไว้ในฐานข้อมูล
3) ช่วยในการวางแผนงานประจำ และควบคุมการทำงาน
การใช้งาน
2) ใช้ข้อมูลภายในที่เก็บไว้ในฐานข้อมูล
3) ช่วยในการวางแผนงานประจำ และควบคุมการทำงาน
การใช้งาน
1) ช่วยในการตัดสินใจงานประจำของผู้บริหารระดับกลาง
2) ช่วยในการทำรายงาน3) ช่วยในการตัดสินใจที่เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นบ่อยๆ และมีโครงสร้างแน่นอน เช่น การอนุมัติสินเชื่อให้กับลูกค้า
แหล่งข้อมูล http://elearning.northcm.ac.th/it/lesson8-1.asp#CSP
วันพุธที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
Decision Support System
Decision Support System (DSS) is a computer-based information system that supports business or organizational decision-making activities. DSSs serve the management, operations, and planning levels of an organization (usually mid and higher management) and help to make decisions, which may be rapidly changing and not easily specified in advance (Unstructured and Semi-Structured decision problems). Decision support systems can be either fully computerized, human or a combination of both.
While academics have perceived DSS as a tool to support decision making process, DSS users see DSS as a tool to facilitate organizational processes.[1] Some authors have extended the definition of DSS to include any system that might support decision making.[2] Sprague (1980) defines DSS by its characteristics:
- DSS tends to be aimed at the less well structured, underspecified problem that upper levelmanagers typically face;
- DSS attempts to combine the use of models or analytic techniques with traditional data access and retrieval functions;
- DSS specifically focuses on features which make them easy to use by noncomputer people in an interactive mode; and
- DSS emphasizes flexibility and adaptability to accommodate changes in the environment and the decision making approach of the user.
DSSs include knowledge-based systems. A properly designed DSS is an interactive software-based system intended to help decision makers compile useful information from a combination of raw data, documents, and personal knowledge, or business models to identify and solve problems and make decisions.
Typical information that a decision support application might gather and present includes:
- inventories of information assets (including legacy and relational data sources, cubes, data warehouses, and data marts),
- comparative sales figures between one period and the next,
- projected revenue figures based on product sales assumptions.
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
|
credit :http://irrigation.rid.go.th/rid15/ppn/Knowledge/Management%20Information%20Systems/mis4.htm |
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)